เป้าหมาย (Understanding Goal)

เป้าหมาย(Understanding Goal) : เห็นความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารประเภทต่างๆรวมทั้งอาหารประเภทเส้นและสามารถผลิตอาหารประเภทเส้นที่มีคุณค่าทางอาหารและปลอดภัยจากวัตถุดิบในท้องถิ่นของตนเองได้

Mian

Mind Mapping

Web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้



คำถามหลัก (Big Question) : 
นักเรียนจะบริโภคอาหารอย่างไรให้ได้คุณค่าทางอาหารที่เหมาะสมและจะผลิตอาหารประเภทเส้นจากวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นให้เกิดคุณค่าได้อย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา

ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตของคนเปลี่ยนไป โดยเฉพาะวิถีการกิน ในอดีตผู้คนหาอาหารได้จากในป่า ทุ่งนา แม่น้ำ ลำคลองและประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง แต่ปัจจุบันวิถีในการดำเนินชีวิตได้เปลี่ยนแปลงไปอีกทั้งอุตสาหกรรมอาหารก็เกิดขึ้นมากมาย ทั้งอาหารสำเร็จรูป กึ่งสำเร็จรูป อาหารสด อาหารแห้ง ทุกคนหาซื้อเพื่อบริโภคได้อย่างง่ายดาย โดยเฉพาะอาหารประเภทเส้นต่างๆ เช่นก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ผัดไท ซึ่งเป็นอาหารที่นิยมอย่างมากของคนในสังคมปัจจุบัน
โดยเฉพาะก๋วยเตี๋ยวหนึ่งในอาหารจานด่วนที่บริโภคกันมาก เพราะมีสารพัดสูตรให้เลือกชิมเลือกทาน ไม่ว่าจะเป็น ก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้น ก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟ ก๋วยเตี๋ยวสุโขทัย ก๋วยเตี๋ยวเรือ ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย ก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่ บะหมี่หมูแดง ราดหน้า ผัดซีอิ้ว เรียกว่ามากมายจนสาธยายไม่หมด ซึ่งตัวเส้นก๋วยเตี๋ยวก็มีหลากหลายชนิด ทั้งเส้นเล็ก เส้นใหญ่ เส้นหมี่ วุ้นเส้น บะหมี่ โซบะ เส้นขนมจีน และเส้นก๋วยจั๊บ โดยเส้นก๋วยเตี๋ยวส่วนใหญ่จะทำจากแป้งข้าวเจ้า บะหมี่ทำจากแป้งสาลีผสมไข่ ส่วนวุ้นเส้นทำจากแป้งถั่วเขียวผสม ก๋วยเตี๋ยวแม้จะเป็นเมนูที่ดูง่ายๆ รสชาติอร่อย แถมราคาก็ไม่แพง แต่ก็อาจแฝงมากับอันตราย เพราะในเส้นก๋วยเตี๋ยวมักมีการใช้สารกันบูด ซึ่งถ้าร่างกายได้รับสารกันบูดในปริมาณที่มากเกินไปก็จะส่งผลร้ายต่อร่างกาย ทำให้ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียร และด้วยสาเหตุดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการเรียนรู้หน่วย อาหาร(ประเภทเส้น) ในQuarter นี้ เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารประเภทต่างๆรวมทั้งอาหารประเภทเส้นและสามารถผลิตอาหารประเภทเส้นที่มีคุณค่าทางอาหารและปลอดภัยจากวัตถุดิบในท้องถิ่นของตนเองได้

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย “เรื่องเส้น” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 / 2559  (Quarter 1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่องที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ 
( 8.1 .6/1 )
วางแผนการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้า เสนอวิธีสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการศึกษาค้นคว้า  
( 8.1 .6/2)
สร้างคำถามใหม่จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ และประเด็นปัญหาที่อยากแก้ไข       
( 8.1  .6/5)
เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
( 8.1 .6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
( 8.1  .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
( 1.1 .6/3)
ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
( 1.1 .6/4)
เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
( 1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
( 1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
( 3.1 .6/1)
มาตรฐาน ส5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้
( 5.2 .6/2)
 มาตรฐาน    1.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
( 1.1 .6 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
( 1.1  .6 /3)
 มาตรฐาน   2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 .6/1)
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี ( 1.1 .6/1)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
( 1.1  .6/7)
มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่อยากเรียนรู้                
( 4.1  .6/2)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม          
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
อาหารประเภทเส้น
คุณค่าทางอาหาร
ข้อดี/ข้อเสีย
สายใยอาหาร
การถนอมอาหาร
มาตรฐาน ว 1.1
 เข้าใจและสามารถวิเคราะห์สารอาหารรวมทั้งอภิปรายความจำเป็นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย
( 1.1 .6/3 )
มาตรฐาน ว 2.1
อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
 2.1 .6/2 )
มาตรฐาน ว 2.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละท้องถิ่นที่เป็น
ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
( 2.2 .6/1 )
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ผลการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการบริโภคอาหาร ที่ส่งผลต่อโลก สังคม ชุมชนและตัวเราเอง  2.2 .6/2 )
มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ( 2.2 .6/5 )
มาตรฐาน ว 3.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายการใช้สารถนอมอาหารที่ปลอดภัยได้ (ว 3.1 .6/5 )
มาตรฐาน ว 3.2
เข้าใจและสามารถใช้สารเคมีในการทดสอบสารอาหารได้อย่างปลอดภัย
(ว 3.2 .2/4 )
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้น ( 8.1 .6/1 )
วางแผนการตรวจสอบคุณค่าทางอาหารของอาหารแต่ละประเภท
( 8.1 .6/2)
เลือกอุปกรณ์ในการตรวจ
สอบสารอาหารที่เหมาะสม และน่าเชื่อได้
( 8.1 .6/3 )
เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปเรื่องอาหารประเภทเส้นได้ ( 8.1 .6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
( 8.1  .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
( 1.1 .6/3)
ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
( 1.1 .6/4)
เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
( 1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
( 1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
( 3.1 .6/1)
มาตรฐาน ส5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้
( 5.2 .6/2)
 มาตรฐาน    1.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
( 1.1 .6 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
( 1.1  .6 /3)
มาตรฐาน    3.1
เข้าใจและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นได้
( 3.1  .6 /2)
สามารถเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
( 3.1  .6 /3)
มาตรฐาน    4.1
สำรวจในชุมชนตนเองเพื่อวางแผนเลือกอาชีพได้ ( 4.1  .6 /1)
 มาตรฐาน   2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 .6/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน   4.1
เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
 4.1 .1/1 )
เข้าใจและสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากอาหารต่อสุขภาพได้
 4.1 .1/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวของอาหารประเภทเส้นผ่านวาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี
( 1.1 .6/1)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องสายใยอาหาร เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
( 1.1  .6/7)
มาตรฐาน ศ3.1
ออกแบบ สร้างสรรค์เรื่องราวอาหารประเภทเส้นถ่ายทอดผ่านละครได้ ( 3.1  .6/2)
มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องอาหารประเภทเส้นได้  
( 4.1  .6/2)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม          
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น













สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
ออกแบบ สร้างสรรค์
เส้นขนมจีน
น้ำยาขนมจีน
ที่บีบเส้นขนมจีน
การถนอมเส้นขนม
จีน

มาตรฐาน ว 1.1
 เข้าใจและสามารถวิเคราะห์สารอาหารในเส้นขนมจีน น้ำยาขนมจีนรวมทั้งอภิปรายความจำเป็นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย
( 1.1 .6/3 )
มาตรฐาน ว 2.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละท้องถิ่นที่เป็น
ประโยชน์ต่อการผลิตเส้นขนมจีนได้
( 2.2 .6/1 )
มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ( 2.2 .6/5 )
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับการผลิตเส้นขนมจีนจากวัสถุดิบในท้องถิ่นได้ 
( 8.1 .6/1 )
วางแผนการทำน้ำยาขนมจีนที่มีคุณค่าทางอาหาร ( 8.1 .6/2)
เลือกอุปกรณ์ในทำเส้นขนมจีน น้ำยาขนมจีน
ที่เหมาะสม และน่าสนใจได้ ( 8.1 .6/3 )
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปเรื่องการออกแบบเส้นขนมจีนได้ ( 8.1 .6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
( 8.1  .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
( 1.1 .6/3)
ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
( 1.1 .6/4)
เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
( 1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
( 1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
( 3.1 .6/1)
มาตรฐาน ส5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้
( 5.2 .6/2)
 มาตรฐาน    1.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
( 1.1 .6 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
( 1.1  .6 /3)
มาตรฐาน    2.1
เข้าใจและสามารถนำความรู้และทักษะเพื่อผลิตเส้นขนมจีนและน้ำยาขนมจีนได้
( 2.1  .6 /3)
มาตรฐาน    3.1
เข้าใจและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตเส้นขนมจีนได้
( 3.1  .6 /2)
สามารถเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
( 3.1  .6 /3)
มาตรฐาน    4.1
สำรวจในชุมชนตนเองเพื่อวางแผนเลือกอาชีพได้ ( 4.1  .6 /1)
มีเจตคติที่ดีในการเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค
( 4.1  .1 /1)
มาตรฐาน   2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 .6/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน   4.1
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากอาหารประเภทเส้น และสามารถป้องกันตนเองได้
 4.1 .6/2 )
เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
 4.1 .1/1 )
เข้าใจและสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากอาหารต่อสุขภาพได้
 4.1 .1/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
เข้าใจและสามารถออกแบบ วางแผนที่บีบเส้นขนมจีนผ่านวาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี ( 1.1 .6/1)
สร้างสรรค์ที่บีบเส้นขนมจีนด้วยวัสดุในท้องถิ่นได้( 1.1  .6/6)
มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องเส้นจีนได้ 
( 4.1  .6/2)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม          
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
การเลือกซื้อและบริโภคอาหาร
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

มาตรฐาน ว 1.1
 เข้าใจและสามารถวิเคราะห์เลือกซื้ออาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย ( 1.1 .6/3 )
มาตรฐาน ว 2.2
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งอาหารในแต่ละท้องถิ่นที่เป็น
ประโยชน์ต่อเลือกซื้อ
( 2.2 .6/1 )
มาตรฐาน ว 3.1
เข้าใจและสามารถทดลองคุณสมบัติของสารในอาหารได้ ( 3.1 .6/1 )
มาตรฐาน ว 8.1
ตั้งคำถามเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคได้ ( 8.1 .6/1 )
วางแผนการซื้อและบริโภคอาหารได้
( 8.1 .6/2)
เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปเรื่องกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคได้ 
( 8.1 .6/6 )
 นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
( 8.1  .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
( 1.1 .6/3)
ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
( 1.1 .6/4)
เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
( 1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
( 1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
เข้าใจและสามารถ
อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ
( 3.1  .6/1)
เข้าใจและสามารถ
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน
( 3.1  .6/2)
 มาตรฐาน    1.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
( 1.1 .6 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
( 1.1  .6 /3)
มาตรฐาน    3.1
เข้าใจและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคได้
( 3.1  .6 /2)
สามารถเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
( 3.1  .6 /3)
มาตรฐาน    4.1
สำรวจในชุมชนตนเองเพื่อวางแผนการเลือกซื้อได้ ( 4.1  .6 /1)
 มาตรฐาน   2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 .6/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน   4.1
เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
 4.1 .1/1 )
เข้าใจและสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากอาหารต่อสุขภาพได้
 4.1 .1/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวของเครื่องหมาย อย.มอก.ผ่านวาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี
( 1.1 .6/1)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องการเลือกซื้อ เลือกบริโภค เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
( 1.1  .6/7)
มาตรฐาน ศ3.1
ออกแบบ สร้างสรรค์เรื่องราวกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคถ่ายทอดผ่านละครได้ ( 3.1  .6/2)
มาตรฐาน ส 4.1
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่อง
- การเลือกซื้อและบริโภคอาหาร
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคได้ 
( 4.1  .6/2)
จุดเน้นที่ 3
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทในการเลือกซื้ออาหารได้เหมาะสม
เห็นคุณค่าของอาหารที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย    
 จุดเน้นที่ 4
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม         
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลานามัย
ศิลปะ
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สรุปและนำเสนอหน่วย
การตกผลึกความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้มาทั้งหมด
มาตรฐาน ว 8.1
ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่อง
ที่อยากเรียนรู้ได้ 
( 8.1 .6/1 )
วางแผนการตรวจสอบสิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาต่อได้ 
( 8.1 .6/2)
เลือกอุปกรณ์ในนำเสนอผลงานที่เหมาะสม และน่าเชื่อได้ 
( 8.1 .6/3 )
เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและลงความเห็น สรุปเรื่องที่ได้เรียนรู้ได้
( 8.1 .6/6 )
 - นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
( 8.1  .6/8 )
มาตรฐาน ส1.1
เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างในการดำเนินชีวิต
( 1.1 .6/3)
ชื่นชมการทำความดี ของบุคคลอื่น
( 1.1 .6/4)
เข้าใจและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ
( 1.1 .6/7)
มาตรฐาน ส1.2
 เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีได้
( 1.2 .6/2)
มาตรฐาน ส3.1
 เข้าใจและรู้จักบทบาทของตนเอง
( 3.1 .6/1)
มาตรฐาน ส5.2
อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบันและผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้
( 5.2 .6/2)
 มาตรฐาน    1.1
เข้าใจและสามารถอภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานในแต่ละขั้นตอนได้
( 1.1 .6 /1 )
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ  
( 1.1 .1 /2 )
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล ( 1.1 .1 /3 )
ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
( 1.1  .6 /3)
มาตรฐาน    3.1
เข้าใจและสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในนำเสนองานได้
( 3.1  .6 /2)
สามารถเก็บข้อมูลในรูปแบบต่างๆได้
( 3.1  .6 /3)
มาตรฐาน   2.1
เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 2.1 .6/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน                  
 3.1 .4/2 )
มาตรฐาน   4.1
เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัยได้
 4.1 .1/1 )
เข้าใจและสามารถ
วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากอาหารต่อสุขภาพได้
 4.1 .1/2 )
มาตรฐาน ศ1.1
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนมาทั้งหมดผ่านวาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา  น้ำหนัก และวรรณะสี ( 1.1 .6/1)
สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบสรุปความรู้ความเข้าใจ ได้
( 1.1  .6/7)
มาตรฐาน ศ3.1
ออกแบบ สร้างสรรค์นำเสนออาหารประเภทเส้นถ่ายทอดผ่านละคร เรื่องสั้นได้
( 3.1  .6/2)
มาตรฐาน ส 4.1
อธิบายความสำคัญของเรื่องที่ศึกษาผ่านTime line
( 4.1  .6/1)
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องที่เรียนได้ 
( 4.1  .6/2)
จุดเน้นที่ 1
เข้าใจและแสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ          
เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทย     
 จุดเน้นที่ 3
ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม 
จุดเน้นที่ 4
การทำงานร่วมกันอย่างมีเป้าหมายและเคารพในหน้าที่ของกันและกัน
จุดเน้นที่ 5
เข้าใจและแสดงออกถึงการเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น





ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL ( Problem Based Learning )
 หน่วย : เรื่องเส้น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week
Input
Process
Output
Outcome
1
โจทย์ : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Questions :
เหตุการณ์ที่นักเรียนเสียใจ/ดีใจที่สุดในช่วงปิดเรียนมีอะไรบ้าง?
นักเรียนสังเกตเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร ในห้องเรียนของเรามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไรและคิดอย่างไรจากคลิปที่ได้ดู?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเหตุการณ์ในช่วงปิดเรียน
Card and Chart : เรื่องที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอสรุปสิ่งที่ได้จากคลิป
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
เส้นชนิดต่างๆในห้องเรียน
คลิปรายการ อาหารจีนโอชารส ตอนที่ 6 รสชาติ
-  คลิปกบนอกกะลา ตอนกบเล่นเส้น
คลิปรายการเล่าเส้นเป็นเรื่อง
เรื่องเล่าในช่วงปิดเรียนจากครูและนักเรียน
บรรยากาศในชั้นเรียน
กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อ
ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่นักเรียนเสียใจ/ดีใจที่สุดในช่วงปิดเรียนมีอะไรบ้าง
ครูเปิดคลิปรายการ อาหารโอชารส ตอนที่ 6 รสชาติ คลิปกบนอกกะลา ตอนกบเล่นเส้น และรายการเล่าเส้นเป็นเรื่อง ให้นักเรียนดู
นักเรียนเห็นอะไร รู้สึกอย่างไรและคิดอย่างไรจากคลิปที่ได้ดู
สำรวจ สังเกตในห้องเรียนของเรา ครูกระตุ้นการคิด เห็นอะไร รู้สึกอย่างไร เพราะเหตุใด จะทำอย่างไร
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรในQuarter นี้ ผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart พร้อมให้เหตุว่าเพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้ เรื่องนั้น
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ดูคลิปวีดีโอรายการต่างๆ
- การสนทนาตอบคำถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง
การสำรวจ สังเกตห้องเรียน
- การแสดงความคิดเห็นให้เหตุผลประกอบเรื่องที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้จากคลิปกบนอกกะลา ตอน ก๋วยเตี๋ยว
- เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าและเหมาะสม
- เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของอาหารในปัจจุบันต่อตนเอง
 ทักษะการสื่อสาร 
- พูด/สื่อสารเหตุการณ์ที่ตนเองดีใจและเสียใจในวันหยุดที่ผ่านมาได้
- พูดนำเสนอสิ่งที่ได้จากการดูคลิปและเรื่องที่อยากเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากการดูคลิปเพื่อเขียนสรุปความเข้าใจได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ ICT
สามารถสืบค้นหาข้อมูลที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้จากแหล่งต่างๆเช่น Internetผู้รู้ ห้องสมุดได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
2
โจทย์ : วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยนี้ว่าอย่างไร เพราะเหตุใดจึงใช้ชื่อนั้น?
นักเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับอาหาร(ประเภทเส้น)และอยากเรียนรู้อะไรใน Quarter นี้?
นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ในQuarter นี้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด :
Think  Pair Share : ตั้งชื่อหน่วย
Blackboard  Share : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นเนื้อหาที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
กระดาษ ปรู๊ฟ
สี/ปากกาเคมี          
- บรรยากาศในห้องเรียน
กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
ตั้งชื่อโครงงาน
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
ทำปฏิทินการเรียนรู้ 10สัปดาห์
เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน  
วาดภาพตกแต่งหน้าห้องเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การระดมสมองตั้งชื่อโครงงาน
การนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping)
ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ (แผ่นใหญ่)
ทำเค้าโครงปฏิทินการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์
ทำปฏิทินการเรียนรู้(แผ่นเล็ก)
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
สามารถทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนผ่านการเขียนสิ่งที่รู้แล้ว, Mind Mappingและสามารถออกแบบวางแผน
กระบวนการเรียนรู้ตลอด10สัปดาห์ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ออกแบบและเขียน Mind Mapping / ปฏิทินได้
ออกแบบตกแต่งห้องเรียนให้สอดคล้องกับหน่วยได้
ออกแบบกิจกรรมการเรียนได้อย่างน่าสนใจ
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
เห็นการเชื่อมโยง เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำ Mind Mapping ก่อนเรียน
จัดหมวดหมู่ปฏิทินรายสัปดาห์ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผนเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหน่วย
ทักษะ การแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
ส่งงานตรงต่อเวลา
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
3
โจทย์ : สารอาหาร
Key Questions :
นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร?
อาหารที่นักเรียนชอบทานมากที่สุดคืออะไร และอาหารที่นักเรียนชอบทานมีสารอาหารประเภทใดบ้าง?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสารอาหารและวิธีการตรวจสอบ
Show and Share : นำเสนอการทดลอง
Mind Mapping: สารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด
-  สิ่งของที่นำมาตรวจสอบ
สารที่ใช้ตรวจสอบ
- บรรยากาศในห้องเรียน

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไรอาหารที่นักเรียนชอบทานมากที่สุดคืออะไร และอาหารที่นักเรียนชอบทานมีสารอาหารประเภทใดบ้าง
ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
แบ่งกลุ่มหาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้ เพื่อนๆช่วยเพิ่มเติมในส่วนที่คิดต่าง
- นักเรียนสรุปความเข้าใจ ผ่านMind Mapping, ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการตรวจสอบ
นักเรียนเตรียมสิ่งของมาตรวจสอบหาสารอาหาร เช่น ผลไม้ ข้าว นม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การหาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารและวิธีการตรวจสอบ
การเตรียมสิ่งของมาตรวจสอบหาสารอาหาร
การสรุปความเข้าใจ ผ่าน Mind Mapping, ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
- Mind Mapping, ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบาย
เกี่ยวกับสารอาหารแต่ละประเภท รวมทั้งตรวจสอบสารอาหารได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับร่างกาย
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบสารอาหาร
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบทำอาหารไก่พื้นเมืองที่มีต้นทุนจำกัดได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอMind Mapping,ชาร์ตความรู้,การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการตรวจสอบให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆและวิธีการตรวจสอบได้
คุณลักษณะ
มีความรับผิดชอบในการเตรียมอุปกรณ์
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความ
4
โจทย์ :  อาหารประเภทเส้น
Key Questions :
อาหารประเภทเส้นที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง?
อาหารประเภทเส้นในต่างประเทศ?
เหมือนหรือต่างจากประเทศไทยอย่างไร?
อาหารประเภทเส้นที่นักเรียน สนใจคืออะไรและสิ่งที่นักเรียนสนใจมีขั้นตอนการทำอย่างไร?
ขนมจีนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตัวเราอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Flow chart : ขั้นตอนการทำอาหารประเภทเส้นและการทำเส้นขนมจีน
place mat :  เกี่ยวกับอาหารประเภทเส้น
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นในต่างประเทศเหมือนหรือต่างจากประเทศไทยอย่างไร
Show and Share : นำเสนอ place mat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ห้องสมุด
อินเทอร์เน็ต
บรรยากาศในห้องเรียน
กระดาษ ปรู๊ฟ/กระดาษ A4
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด ”อาหารประเภทเส้นที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง?/อาหารประเภทเส้นในต่างประเทศเหมือนหรือต่างจากประเทศไทยอย่างไร?” ผ่านเครื่องมือคิดRound Robin 
นักเรียนหาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านเครื่องมือคิด Place Mat
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “อาหารประเภทเส้นที่นักเรียนสนใจ คืออะไรและสิ่งที่นักเรียนสนใจมีขั้นตอนการทำอย่างไร?”
หาข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการทำอาหารประเภทเส้นที่ตนเองสนใจจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สรุปความเข้าใจผ่าน Flow chart  พร้อมกับนำเสนอ แลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  “อาหารประเภทเส้นในต่างประเทศเหมือนหรือต่างจากประเทศไทยอย่างไร และขนมจีนเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตัวเราอย่างไร?” ผ่านเครื่องมือคิดRound Robin
แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน หาข้อมูลเกี่ยวกับการทำเส้นขนมจีนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สรุปความเข้าใจผ่าน Flow chart  พร้อมกับนำเสนอ แลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆกลุ่มอื่น
วางแผน แบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์ สำหรับทำเส้นขนมจีน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การหาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นขั้นตอนการทำอาหารประเภทเส้น
การนำเสนอ Flow chart
การเขียนวิเคราะห์อาหารประเภทความเหมือนและต่างของอาหารประเภทเส้นทั้งในประเทสไทยและต่างประเทศ
การวางแผน แบ่งหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์ สำหรับทำเส้นขนมจีน
ชิ้นงาน
-Place mat เกี่ยวกับอาหารประเภทเส้น
- Flow chart เกี่ยวกับ ขั้นตอนการทำอาหารประเภทเส้นและการทำเส้นขนมจีน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้น รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของอาหารประเภทเส้นแต่ละประเทศได้ 
ทักษะ :
 ทักษะชีวิต
สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ในการทำเส้นขนมจีนได้
ออกแบบ วางแผนเตรียม
อุปกรณ์ในการทำเส้นขนมจีนได้
ใช้อุปกรณ์ในการทำงานและเก็บเข้าที่
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆและนำเสนอเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของอาหารประเภทเส้นแต่ละประเทศได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
วาดภาพประกอบชิ้นงานต่างๆ
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นได้
คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นส่งงานตรงต่อเวลา
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
5
โจทย์ :  เส้นขนมจีน
Key Questions :
นักเรียนจะผลิตเส้นขนมจีนและเพิ่มมูลค่าของเส้นขนมจีนได้อย่างไร?
นักเรียนคิดว่า ข้าว 1 เมล็ดประกอบไปด้วยอะไรบ้างแต่ละ อย่างทำหน้าที่อย่างไร?
ทำไมข้าวมีทั้งสีขาว สีเหลือง สีม่วง เพราะเหตุใด?
ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานมีอะไรบ้าง นักเรียนแก้ปัญหานั้นอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเส้นขนมจีน
Webเชื่อมโยง : ข้าว 1เมล็ด ประกอบไปด้วยอะไรบ้างแต่ละอย่างทำหน้าที่อย่างไร
Show and Shareนำเสนอ Web
Wall Thinking :ขั้นตอนการทำเส้นขนมจีน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ผู้ปกครอง
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
วัตถุดิบทำเส้นขนมจีน
วัสดุ อุปกรณ์ในการทำที่บีบขนมจีน
ข้าวเปลือก/ข้าวสาร
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า นักเรียนจะผลิตเส้นขนมจีนและเพิ่มมูลค่าของเส้นขนมจีนได้อย่างไร ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
แต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์ตามที่วางแผนไว้ในสัปดาห์ที่ 3และลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
หาข้อมูล วางแผนสำหรับทำอุปกรณ์บีบเส้นขนมจีน
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานมีอะไรบ้าง นักเรียนแก้ปัญหานั้นอย่างไร ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
-  แต่ละกลุ่มวางแผนเพิ่มมูลค่าของเส้นขนมจีน เช่น ทำขนมจีนน้ำยา
สปาเกตตีเส้นขนมจีน เป็นต้น
หากลุ่มตัวอย่างทดลองชิม (บันทึกผล)
ครูนำเมล็ดข้าวมาให้นักเรียนดู จากนั้นกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า นักเรียนคิดว่า ข้าวเมล็ดประกอบไป ด้วยอะไรบ้าง แต่ละอย่าง ทำหน้าที่อย่างไร และทำไมข้าวมีทั้งสีขาว สีเหลือง สีม่วง เพราะเหตุใดผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
หาข้อมูลเกี่ยวกับ ข้าว 1เมล็ด ประกอบไปด้วยอะไรบ้างแต่ละอย่างทำหน้าที่อย่างไร  สรุปความเข้าใจ ผ่าน  Web
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การลงมือทำเส้นขนมจีน
การทำอุปกรณ์บีบเส้นขนมจีน
การเพิ่มมูลค่าของเส้นขนมจีน เช่น ทำขนมจีนน้ำยา
สปาเกตตีเส้นขนมจีน เป็นต้น
- dkiหากลุ่มตัวอย่างทดลองชิม (บันทึกผล)
ชิ้นงาน
เส้นขนมจีนแต่ละกลุ่ม
อุปกรณ์บีบเส้นขนมจีน
แบบบันทึกผล
- Web ส่วนประกอบของข้าว 1 เมล็ด
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถวางแผนออกแบบการทำเส้นขนมจีนรวมทั้งสามารถอธิบายเกี่ยวกับส่วนประกอบของเมล็ดข้าวได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทำเส้นขนมจีนได้
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเพื่อ
ประดิษฐ์ที่บีบเส้นขนมจีนได้
ออกแบบ วางแผนเพิ่มมูลค่าของเส้นขนมจีนได้
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรห้องที่มีอยู่ให้คุ้มค่าเช่น สี กระดาษ กรรไกร
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำเส้นขนมจีนได้
ทักษะการคิด
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับความแตกต่างของสี(เมล็ดข้าว)ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบสร้างมูลค่าจากเส้นขนมจีนและประดิษฐ์ที่บีบเส้นขนมจีนได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับการทำเส้นขนมจีนและส่วนประกอบของเมล็ดข้าวได้
ทักษะ การแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นส่งงานตรงต่อเวลา
มีความพยายาม อดทนในการทำเส้นขนมจีนให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
มีความรับผิดชอบในการเตรียมอุปกรณ์
6-7
โจทย์ :  เส้น แบบใหม่
Key Questions :
นักเรียนจะผลิตเส้นในรูปแบบใหม่ได้อย่างไร?
วัสดุดิบในชุมชนที่สามารถนำมาทำเส้นได้มีอะไรบ้าง?
นักเรียนจะทำอย่างไรให้
เส้นสามารถเก็บไว้รับประทานได้นานที่สุด?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับเส้นในรูปแบบใหม่
Show and Share : นำเสนอการ์ตูนช่อง นิทาน เรื่องการถนอมอาหาร
Wall Thinking :ขั้นตอนการทำเส้นขนมจีน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ผู้ปกครอง
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด
- บรรยากาศในห้องเรียน
วัตถุดิบทำเส้นขนมจีนจากชุมชน
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม นักเรียนจะผลิตเส้นในรูปแบบใหม่ได้อย่างไรและวัตถุดิบที่นำมาใช้ทำเส้นต้องมาจากชุมชนของตนเอง  ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
แต่ละกลุ่มออกแบบ วางแผนการทำเส้นและเตรียมอุปกรณ์
ลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า “ความคืบหน้าของงานเป็นอย่างไร?/ “ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานมีอะไรบ้าง นักเรียนแก้ปัญหานั้นอย่างไร?” ผ่านเครื่องมือคิด 
Round Robin  ครูกระตุ้นการคิดต่อว่า นักเรียนจะทำอย่างไรให้เส้นที่ผลิตสามารถเก็บไว้รับประทานได้นานที่สุด
แต่ละกลุ่มหาข้อมูลเกี่ยวกับการถนอมอาหาร นำข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ สรุปความเข้าใจรายบุคคลตามเทคนิคที่ตนเองถนัด
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การลงมือทำเส้นรูปแบบใหม่
การวางแผนการถนอมอาหาร
การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับการถนอมอาหาร
ชิ้นงาน
เส้น รูปแบบใหม่ แต่ละกลุ่ม
สรุปความเข้าใจเรื่องการถนอมอาหารรายบุคคลตามเทคนิคที่ตนเองถนัด เช่นการ์ตูนช่อง นิทาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับการทำเส้นขนมจีนและสามารถถนอมเส้นขนมจีนให้รับประทานได้นานที่สุด
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
นำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาทำเส้นขนมจีนได้
สามารถถนอมเส้นขนมจีนได้นานที่สุด
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ข้าว ผัก ผลไม้
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการการถนอมอาหารได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวิธีการถนอมเส้นขนมจีนได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอ การทำเส้นขนมจีนในรูปแบบใหม่ ให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับการถนอมอาหารได้
 คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการคิดวิธีถนอมเส้นขนมจีน
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
มีความรับผิดชอบในการเตรียมอุปกรณ์
8
โจทย์ : การเลือกซื้อ
Key Questions :
นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร?
ทำไมต้องมีกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ไม่มีกฎหมายจะทำอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin :วิธีการเลือกซื้ออาหาร
Show and Share : นำเสนอ นิทาน เรื่องการเลือกซื้ออาหาร
Wall Thinking: ภาพสัญลักษณ์ อย.
และ มอก.
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
ห้องสมุด
ผลิตภัณฑ์ที่มี เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- บรรยากาศในห้องเรียน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง  ผ่านเครื่องมือคิด Round Robin จากนั้นครูกระตุ้นการคิดต่อว่า นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร ( ครูนำผลิตภัณฑ์มาให้นักเรียนดู )
หาข้อมูลเกี่ยวกับ การเลือกซื้ออาหาร,  เครื่องหมาย อย. และเครื่องหมาย มอก. จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ นำเสนอ แลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ เพื่อนๆช่วยเพิ่มเติมในส่วนที่คิดต่าง สรุปความเข้าใจผ่าน นิทาน 
ครูให้นักเรียนนำผลิตภัณฑ์มาจากบ้าน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด  ทำไมต้องมีกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ไม่มีกฎหมายจะทำอย่างไร ผ่านเครื่องมือคิดRound Robin
หาข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพื่อนๆ เพื่อนๆช่วยเพิ่มเติมในส่วนที่ต่างก่อนทำงาน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การหาข้อมูลเกี่ยวกับ การเลือกซื้ออาหาร กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ
การนำเสนอ นิทาน เรื่องกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
การนำผลิตภัณฑ์มาจากบ้านเพื่อศึกษา
ชิ้นงาน
นิทาน เรื่องกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร รวมถึงเครื่องต่างๆที่ปรากฏในผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพได้
รู้วิธีการบริโภคอาหารให้ปลอดภัย
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น กระดาษ กรรไกร ต่างๆ
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารเครื่องหมาย อย. และเครื่องหมาย มอก.ได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบ การทำนิทาน เรื่องการเลือกซื้ออาหารได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอ นิทาน เรื่องการเลือกซื้ออาหารให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารได้
คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
9
โจทย์ :  เรื่องเส้นในอนาคต
Key Question :
 นักเรียนคิดว่าเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด?
Round Robin : ระดมความคิดเกี่ยวกับเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคต
Show and Share นำเสนอ เมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตของแต่ละคน
Wall Thinking เมนูอาหารประเภทเส้นที่รู้จัก
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ห้องสมุด
อินเทอร์เน็ต
บรรยากาศในชั้นเรียน
อุปกรณ์การทำอาหาร
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด?
นักเรียนคิดค้นเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคต ผ่านการเขียนบรรยาย
นักเรียนนำเสนอผลงานเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตให้ครูและเพื่อนๆฟัง
ครูจับฉลากแบ่งกลุ่มเป็นกลุ่ม
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถามว่า อาหารประเภทเส้นในอนาคต 1 เมนู ที่อยากจะนำเสนอให้เพื่อนๆได้ชิม
นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกอาหารประเภทเส้นกลุ่มละ 1 เมนู จากนั้นวางแผนการทำงาน เช่นอุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง ใครจะต้องเตรียมอะไร เป็นต้น
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำอาหารประเภทเส้นในอนาคตตามที่ออกแบบวางแผนไว้
นักเรียนแต่ละกลุ่มชิมอาหารของกลุ่มเพื่อนๆแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ร่วมกัน เช่น อะไรที่ทำได้ดีแล้วของเพื่อน อะไรที่ต้องเพิ่มเติมหรือพัฒนาต่อ
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การนำเสนอผลงานอาหารประเภทเส้นในอนาคต
การลงมือทำอาหารประเภทเส้นในอนาคต
การชิม/สะท้อน
แลกเปลี่ยน
ชิ้นงาน
เมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคต
อาหารประเภทเส้นในอนาคตในแต่ละกลุ่ม
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผลผ่าน เขียนบรรยาย
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
สามารถออกแบบ วางแผนการทำอาหารประเภทเส้นในอนาคตได้)
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรในการทำอาหารอย่างคุ้มค่า
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารประเภทเส้นในอนาคตได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบเมนูอาหารประเภทเส้นในอนาคตได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดทำอาหารประเภทเส้นในอนาคตให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลได้
คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
10
โจทย์ :สรุปองค์ความรู้ 
Key Questions:
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียน?หน่วย “เรื่องเส้นและจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนามีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการนำเสนอความงอกงาม
Show and Share : นำเสนอMind Mapping หลังเรียน
Blackboard  Share : ระดมความคิดวางแผนเปิดบ้าน

 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
อุปกรณ์การแสดง
- ห้องเรียน
- กระดาษA4/A3
- บรรยากาศในห้องเรียน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด 
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเรียนหน่วย “เรื่องเส้นและจะนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจได้อย่างไรบ้าง
นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
-  นักเรียนระดมความคิดเขียน “ สิ่งที่ทำได้ดี และ สิ่งที่ควรพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนหน่วยเรื่อง “เรื่องเส้น
ซ้อมละคร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
การเขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนาต่อ
การจัดบรรยากาศในห้องเรียน เตรียมเผยแพร่องค์ความรู้
การซ้อมละคร
การเขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
ละคร
- Place met สิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนาต่อ
สรุปการเรียนรู้ราย
สัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาตลอด10 สัปดาห์ให้ผู้อื่นรับรู้ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
สามารถออกแบบวางแผนการแสดงละครสรุปความเข้าใจได้)
เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่า เช่น สี กระดาษ ผ้า
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบกิจกรรมในการนำเสนอผลงานได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอ เค้าโครงละคร และMind Mappingสรุปองค์ความรู้(หลังเรียน)ให้ครูและเพื่อนเข้าใจได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสิ่งที่เรียนได้
คุณลักษณะ
- มั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น
มีความพยายาม อดทนในการเตรียมความพร้อมในการนำเสนองานให้สำเร็จ
กล้าแสดงออก ผ่านละคร
11
โจทย์ : เผยแพร่ความเข้าใจ
Key Questions :
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเปิดบ้านครั้งนี้?
สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาต่อใน Quarter 2 (การเปิดบ้าน)?
เครื่องมือคิด :
Round Robin : พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการเปิดบ้าน
Show and Share : นำเสนอเผยแพร่งาน

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
คุณครู
นักเรียน
ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในห้องเรียน
อุปกรณ์แสดงละคร
วัดหนองผะองค์
อาหารประเภทเส้น
ซ้อมนำเสนอผลงาน เช่นละคร / พิธีกร
จัดฉากเวที
เปิดบ้าน นำเสนอผลงาน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด 
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการเปิดบ้านครั้งนี้
สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาต่อใน Quarter 2(จากการเปิดบ้าน)
ครู นักเรียน และผู้ปกครองเปิดโรงทาน อาหารปะเภทเส้นที่วัด
หนองผะองค์ (วันเข้าพรรษา)
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทำโรงทานในครั้งนี้ สรุปความเข้าใจผ่าน การ์ตูนช่อง (การบ้านปิด Q1)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การเปิดบ้าน นำเสนอ
ผลงาน
- การจัดเตรียมสะถานที่
ชิ้นงาน
- การ์ตูนช่อง สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำโรงทาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ละคร
ความรู้
เข้าใจ และสามารถถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้มาตลอดQuarter ผ่าน ละครได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ออกแบบ วางแผนการถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องที่เรียน
- จัดฉากเวทีการแสดง
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรในห้องเรียนที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ผ้า สีน้ำ ปากกาเคมี
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จาการนำเสนองาน
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบ การจัดเวที
ทักษะการสื่อสาร 
พูดนำเสนอละคร เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในแสดงละคร
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- มีความรับผิดชอบในการเตรียมอุปกรณ์